ข่าวด่วนข่าวสั้น
ข่าวสารเมืองนคร
เสน่ห์นคร
Most popular
พระเจ้าจันทรภาณุ เมืองนครศรีธรรมราช
พระเจ้าจันทรภาณุ (อังกฤษ: King Chandra Banu) หรือ พระเจ้าศรีธรรมโศกราชองค์ที่ 2 ของราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช (นครศรีธรรมราช) แห่งอาณาจักรตามพรลิงก์
เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเผยแผ่พระอานุภาพขจรไปยังแคว้นไกลที่สุด นั่นคือสามารถแผ่ไปถึงเกาะลังกา โดยการยกทัพไปตีถึง 2 ครั้งที่ยกทัพเรือเข้าโจมตีเกาะลังกา (ประเทศศรีลังกา ในปัจจุบัน) พระองค์ทรงยึดครองภาคเหนือของเกาะนี้ได้ (ค.ศ. 1235-1275)
พระราชประวัติ
พระเจ้าจันทรภาณุ ตามประวัติจากหลักฐานตำนานเมืองและตำนานพระธาตุทราบว่า พระเจ้าจันทรภาณุ เป็นพระอนุชาของพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช (องค์ที่...
ปปท.พบพิรุธ “งบขุดคลองแก้น้ำท่วม 57 ล้าน เมืองคอน” จริง ส่งต่อ ปปช. ตรวจสอบ…!!!
พบพิรุธขุดคลองแก้น้ำท่วม 57 ล้าน นครศรีธรรมราช ล่าสุด พบว่ามีมูลความผิดจริง
ความคืบหน้า กรณีโครงการขุดลอกคลองในเขตพื้นที่ อ.จุฬาภรณ์ จ.นครศรีธรรมราช ตามที่เพจหมาเฝ้าบ้านได้เปิดประเด็น เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 ถึงกรณีความไม่ชอบมาพากลของโครงการดังกล่าว ทำให้ สตง. เข้าตรวจสอบทันทีพร้อมสั่งให้แก้แบบ ส่งผลให้มีการตัดค่างานขนดินและอื่น ๆ เบื้องต้นทันที ไปราว 26 ล้านบาท
ล่าสุด...
พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช เมืองนครศรีธรรมราช
พระรูปปูนปั่นพระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ณ บริเวณภายในวัดพระมหาธาตุวรวิหาร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
พระนาม พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช
พระราชประวัติ
พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช จังหวัดนครศรีธรรมราชตามตำนานได้กล่าวเล่าขานกันว่า พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชนั้นทรง เป็นชาวอินเดียที่มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก่อน เมื่อได้มาสร้างบ้านเมืองใหม่ขึ้น ก็ได้นำเอาพระพุทธศาสนาเข้ามา นอกจากนั้นยังได้นำเอาลัทธิความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์เข้ามาด้วย แต่เนื่องจากวิธีการปฏิบัติทางโลกมากกว่าทางธรรมจึงทำใหพิธีการของพราหมณ์ซึ่งเป็นทางโลกส่วนมาก อธิเช่น นิติประเพณี ราชเพณี ฯลฯ เข้ามาเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนในดินแดนนี้มาก จึงทำให้ภาษาสันสกฤตซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในศาสนาพราหมณ์ เช่น พระนามของพระองค์ คือ " ศรีธรรมาโศกราช "...
พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม)
พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) เป็นบุตรเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนู) อุปราชเมืองนครศรีธรรมราช และท่านนิ่ม
เกิดเมื่อวันที่ ๑เดือน ๕ ปีเถาะ จุลศักราช ๑๒๒๙ ตรงกับ ร.ศ. ๘๖ และตรงกับวันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๑๐ ปลายรัชกาลที่ ๔...